รายงานตัวชี้วัด "พื้นที่กัดเซาะชายฝั่ง (2560-2564)"
ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
หมายเหตุ: ข้อมูลระยะทางการกัดเซาะชายฝั่งทะเลใน 23 จังหวัด
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัดย่อย
ตัวชี้วัดย่อย | หน่วยนับ | ก่อนหน้า | ล่าสุด | ค่าความต่าง |
---|---|---|---|---|
ระยะชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะที่ยังไม่ดำเนินการแก้ไข (รุนแรง ปานกลาง น้อย) (SOE66) | กิโลเมตร | 89 2563 | 70 2564 | -19.45 |
ระยะชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะที่ดำเนินการแก้ไขแล้ว (SOE66) | กิโลเมตร | 734 2563 | 753 2564 | 19.7 |
ระยะชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะรุนแรง (SOE66) | กิโลเมตร | 17 2563 | 30 2564 | 12.99 |
ระยะชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะปานกลาง (SOE66) | กิโลเมตร | 45 2563 | 27 2564 | -18.24 |
ระยะชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะน้อย (SOE66) | กิโลเมตร | 27 2563 | 13 2564 | -14.2 |
ระยะชายฝั่งที่ไม่มีการกัดเซาะ (SOE66) | กิโลเมตร | 2,328 2563 | 2,328 2564 | -0.25 |
1. ตัวเลขห้อย หมายถึง ปีพ.ศ. ของข้อมูลตัวเลขในตัวชี้วัดนั้นๆ
2. การเปลี่ยนแปลง ร้อยละ คำนวณได้จาก = ((ข้อมูลปัจจุบัน - ข้อมูลปีก่อนหน้า) x 100) / ข้อมูลปีก่อนหน้า
ประเทศไทยมีความยาวชายฝั่งทะเล 3,151.13 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น ชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย 2,039.78 กิโลเมตร และชายฝั่งทะเลอันดามัน 1,111.35 กิโลเมตร จากการสำรวจการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเล ใน พ.ศ. 2564 พบว่า มีพื้นที่ชายฝั่งที่ประสบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง 823.06 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น พื้นที่ที่มีการดำเนินการแก้ไขแล้ว 753.32 กิโลเมตร เพิ่มขึ้นจาก พ.ศ. 2563 ประมาณ 50.64 กิโลเมตร และพื้นที่ที่ยังไม่ดำเนินการแก้ไข 69.74 กิโลเมตร นอกจากนี้ ยังมีพื้นที่ชายฝั่งที่ไม่มีการกัดเซาะ 2,328.07 กิโลเมตร ซึ่งมีลักษณะเป็นพื้นที่ชายฝั่งสมดุล พื้นที่หาดหิน/หน้าผา พื้นที่ชายฝั่งที่มีการสะสมตัวของตะกอน พื้นที่ก่อสร้างรุกล้ำแนวชายฝั่ง และพื้นที่ปากแม่น้ำ/ปากคลอง จากการวิเคราะห์ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเลใน พ.ศ. 2564 พบว่า พื้นที่กัดเซาะรุนแรงมีระยะทาง 29.88 กิโลเมตร เพิ่มขึ้นจาก พ.ศ. 2563 ที่มี 16.89 กิโลเมตร พื้นที่กัดเซาะปานกลางมีระยะทาง 26.79 กิโลเมตร ลดลงจาก พ.ศ. 2563 ที่มี 45.03 กิโลเมตร และพื้นที่กัดเซาะน้อยมีระยะทาง 13.07 กิโลเมตร ลดลงจาก พ.ศ. 2563 ที่มี 27.27 กิโลเมตร
ทั้งนี้ ใน พ.ศ. 2564 พบพื้นที่ประสบปัญหาการกัดเซาะอย่างชัดเจน คือ จังหวัดปัตตานี พบการกัดเซาะระยะทางมากกว่า 10 กิโลเมตร ซึ่งมีแนวโน้มการกัดเซาะในระดับรุนแรงเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเลี้ยวเบนของกระแสน้ำจากโครงสร้างชายฝั่ง ในขณะที่จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสงขลา จังหวัดระนอง และจังหวัดตรัง พบระยะกัดเซาะชายฝั่ง มีระยะทางการกัดเซาะตั้งแต่ 5 - 9 กิโลเมตร จังหวัดที่พบการกัดเซาะชายฝั่ง มีระยะทางการกัดเซาะไม่เกิน 5 กิโลเมตร ได้แก่ จังหวัดตราด จังหวัดจันทบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดกระบี่ และจังหวัดสตูล ส่วนจังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ไม่พบการกัดเซาะชายฝั่ง เนื่องจากมีการดำเนินการแก้ไขปัญหาครอบคลุมพื้นที่ดังกล่าวแล้ว (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2566ก)
รายการตัวชี้วัดหลัก
-
สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ
-
มูลค่าเงินลงทุนจากต่างประเทศที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุน (2554-2565)
-
มูลค่าการนำเข้า-ส่งออก และดุลการค้า (2554-2565)
-
รายได้ ค่าใช้จ่าย และภาวะหนี้สินของครัวเรือน (2550-2564)
-
จำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยวจากชาวต่างประเทศ (2554-2565)
-
จำนวนผู้เยี่ยมเยือนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (2554-2565)
-
มูลค่าและอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (2554-2565)
-
สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini coefficient) ของรายจ่าย (2553-2562)
-
สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini coefficient) ของรายได้ (2553-2562)
-
สถานการณ์ด้านสังคม
-
จำนวนและอัตราผู้ป่วยจากโรคเฝ้าระวัง (2551-2565)
-
จำนวนและอัตราการขยายตัวของประชากร (2553-2565)
-
จำนวนประชากร จำแนกวัยเด็ก วัยแรงงาน และวัยสูงอายุ (2553-2565)
-
จำนวนผู้ย้ายถิ่นและอัตราการย้ายถิ่น (2554-2565)
-
จำนวนผู้ว่างงานและอัตราการว่างงาน (2554-2565)
-
ทรัพยากรดินและการใช้ที่ดิน
-
ปริมาณการนำเข้าปุ๋ยเคมี (2552-2565)
-
ปริมาณการนำเข้าวัตถุอันตรายทางการเกษตร (2552-2565)
-
สถานภาพทรัพยากรดิน พ.ศ. 2561
-
พื้นที่การสูญเสียดินในประเทศไทย พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2563
-
ประเภทการใช้ที่ดิน (2551-2564)
-
จำนวนเกษตรกรและพื้นที่เพาะปลูกเกษตรอินทรีย์ (2560-2564)
-
พื้นที่เกษตรที่เสียหายจากอุทกภัยและภัยแล้ง (2553-2563)
-
ทรัพยากรแร่
-
จำนวนประทานบัตรแร่ (2559-2566)
-
ปริมาณการผลิต การใช้ การนำเข้า และการส่งออกแร่ (2558-2565)
-
มูลค่าการผลิต การใช้ การนำเข้า และการส่งออกแร่ (2554-2565)
-
จำนวนการร้องเรียนจากปัญหาผลกระทบการทำเหมืองแร่ (2558-2565)
-
พลังงาน
-
ความยืดหยุ่นของการใช้พลังงานต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (2554-2565)
-
ค่าความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (2552-2565)
-
ปริมาณการใช้พลังงานหมุนเวียน (2552-2565)
-
ปริมาณการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (2554-2565)
-
ปริมาณการนำเข้า (สุทธิ) พลังงานขั้นต้น (2554-2565)
-
สัดส่วนผลิตพลังงานขั้นต้น (2554-2565)
-
ปริมาณการผลิตพลังงานขั้นต้น (2554-2565)
-
ปริมาณการใช้พลังงานทดแทน (2552-2565)
-
ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า
-
จุดความร้อนสะสม (2560-2565)
-
พื้นที่ป่าชุมชน (2556-2565)
-
พื้นที่ถูกไฟไหม้ทั่วประเทศแยกรายภาค (2560-2565)
-
จำนวนสัตว์ป่าและซากสัตว์ป่าในคดีค้าสัตว์ป่า (2554-2565)
-
คดีและจำนวนผู้กระทำผิดเกี่ยวกับการค้าสัตว์ป่า (2554-2565)
-
พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ (พ.ศ. 2556-2565)
-
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ (2561-2565)
-
จำนวนคดีบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติและป่าอนุรักษ์ (2554-2565)
-
สถิติการดับไฟป่าทั่วประเทศแยกรายภาค (2560-2565)
-
พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติและป่าอนุรักษ์ที่ถูกบุกรุก (2552-2565)
-
พื้นที่ป่าไม้ (2556-2565)
-
ทรัพยากรน้ำ
-
สถิติความเสียหายจากสถานการณ์ภัยแล้ง (2554-2565)
-
ความเสียหายจากอุทกภัย (2554-2565)
-
การจัดสรรน้ำในช่วงฤดูฝน (2561-2565)
-
การจัดสรรน้ำในช่วงฤดูแล้ง (2561-2565)
-
ความต้องการใช้น้ำ (2560-2565)
-
ปริมาณน้ำบาดาลที่กักเก็บ (2561-2565)
-
ปริมาณน้ำบาดาลที่ใช้ได้อย่างปลอดภัย (2561-2565)
-
ปริมาณน้ำเก็บกักในอ่างขนาดกลางและใหญ่ (2552-2565)
-
ปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยทั้งปี (2558-2565)
-
ปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งปี (2554-2565)
-
การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ พ.ศ. 2563 (Integrated Water Resource Management; IWRM)
-
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สัตว์ทะเลหายากเกยตื้น (2555-2565)
-
พื้นที่ป่าชายเลนคงสภาพ (2539-2563)
-
พื้นที่แนวปะการัง (2555-2565)
-
พื้นที่แหล่งหญ้าทะเล (2561-2565)
-
ปริมาณสัตว์น้ำเค็ม (2554-2565)
-
ปริมาณการจับสัตว์น้ำต่อหน่วยลงแรงประมง (2551-2565)
-
พื้นที่กัดเซาะชายฝั่ง (2560-2564)
-
ความหลากหลายทางชีวภาพ
-
ชนิดพันธุ์สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ถูกคุกคาม (2548 2559 2563)
-
ชนิดพันธุ์พืชในประเทศไทยที่ถูกคุกคาม (2558 2563)
-
คุณภาพอากาศ
-
ปริมาณก๊าซโอโซน (O3) (2553-2565)
-
ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) (2554-2565)
-
ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) (2553-2565)
-
คุณภาพเสียง
-
ระดับเสียง (2554-2565)
-
คุณภาพน้ำ
-
คุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง (2552-2565)
-
คุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (2552-2565)
-
ขยะมูลฝอย
-
จำนวนสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยชุมชน (2560-2565)
-
ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนต่อคนต่อวัน (2552-2565)
-
ปริมาณขยะมูลฝอย (2553-2565)
-
จำนวนสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยชุมชนที่เปิดดำเนินการถูกต้อง (2559-2563)
-
ของเสียอันตราย
-
ปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชน (2554-2565)
-
ปริมาณกากของเสียอุตสาหกรรม (อันตรายและไม่อันตราย) (2558-2565)
-
ปริมาณของเสียอันตราย (2553-2565)
-
ปริมาณการนำเข้า - ส่งออกซากอิเล็กทรอนิกส์ (2560-2565)
-
มูลฝอยติดเชื้อ
-
ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ (2554-2565)
-
สารอันตราย
-
ปริมาณการนำเข้าสารอันตรายภาคอุตสาหกรรม (2554-2565)
-
สิ่งแวดล้อมชุมชน
-
จำนวนและสัดส่วนพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร (2554-2566)
-
จำนวนและสัดส่วนประชากรในเขตเมือง (2553-2565)
-
จำนวนชุมชนแออัดในกรุงเทพมหานคร (2555-2564)
-
การร้องเรียนมลพิษ อุบัติภัย และเหตุฉุกเฉินจากสารเคมี
-
จำนวนเหตุฉุกเฉินและอุบัติภัยด้านมลพิษ (2551-2565)
-
จำนวนเรื่องร้องเรียนมลพิษ (2556-2565)
-
สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
จำนวนแหล่งสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมอันควรอนุรักษ์ (2561-2566)
-
คุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ประเภทถ้ำ (2561-2565)
-
คุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ประเภทน้ำตก (2561-2565)
-
คุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ประเภทภูเขา (2561-2565)
-
คุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ประเภทธรณีสัณฐานและภูมิลักษณวรรณา (2561-2565)
-
จำนวนแหล่งโบราณสถานที่ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียน (2552-2564)
-
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ
-
เหตุภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในประเทศไทย (2556-2566)
-
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดของประเทศไทยจำแนกตามภาคส่วน (2543-2562)
-
ค่าเฉลี่ยระดับน้ำทะเลสัมพัทธ์ ณ สถานีตรวจวัด (2553-2565)
-
อุณหภูมิเฉลี่ย (2551-2565)
-
ร้อยละของปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งปีที่ต่างจากค่าปกติ (2556-2565)
-
ปริมาณฝนเฉลี่ย (2556-2565)
-
ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ และต่อหัวประชากร (2539-2565)